Archive for the ‘ประชาสัมพันธ์’ Category
กระทรวงไอซีทีเตรียมส่งดาวเทียม SMMS ขึ้นสู่วงโคจร
ที่มาหัวข้อข่าว : http://www.space.mict.go.th/
กระทรวงไอซีทีได้ร่วมสร้างดาวเทียมอเนกประสงค์ (Memorandum of Understanding for Small Multi-Mission Satellite Project and Related Activities :SMMS) เป็นดาวเทียมร่วมสร้างระหว่างประเทศไทยและสาธารณรัฐประชาชนจีน มีประเทศสมาชิกลงนาม 6 ประเทศ ได้แก่ เกาหลีใต้ จีน มองโกเลีย ปากีสถาน บังคลาเทศและอิหร่าน ซึ่งเป็นโครงการสร้างดาวเทียมเอนกประสงค์ขนาดเล็ก (Small Multi – Mission Satellite :SMMS)หรือ SMMS เป็นผลงานวิจัยของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ซึ่งเกิดจากความร่วมมือพหุภาคีด้านเทตโนโลยีอวกาศและการประยุกต์ใช้งานในภูมิภาคและเอเชียแปวิฟิก (Asia–Pacific Multilateral Cooperation in Space Technology and Application :AP-MCSTA) เป็นโครงการที่ดีอีกโครงการหนึ่ง ในด้านรีโมทเซนซิง
นายมั่น พัธโนทัย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้ให้ข่าวสารถึงคณะรัฐมนครีได้มีมติอนุมัติ เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2540 ให้ประเทศไทย เข้าร่วมลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) ในระหว่าง 6 ประเทศข้างต้น
โครงการอบรมระบบภูมิสารสนเทศ ประจำปี 2551 : กย-ตค
โครงการอบรมระบบภูมิสารสนเทศ ประจำปี 2551 : กย-ตค
ศูนย์วิจัยระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
กำหนดจัด คอร์สฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการขึ้น
ดูรายละเอียดคอร์สอบรมที่ [51train02.pdf]
ใบสมัคร [51form_train02.pdf]
จดหมายเชิญ [51b_letter.pdf]
ในการฝึกอบรมครั้งนี้ขอสงวนสิทธิ์ในการ รับผู้เข้าฝึกอบรม จำนวนจำกัด (1 ท่าน/เครื่อง)
เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้เข้าร่วมการฝึกอบรมให้มากที่สุด
รีบสมัครด่วน รับจำนวนจำกัด
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร์” ปี 2551
ศูนย์วิจัยระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมบริการวิชาการสังคม ให้กับครูภูมิศาสตร์ ระดับมัธยมต้น และมัธยมปลาย ให้ได้รับความรู้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร์ โดยเน้นความรู้ รีโมทเซนซิง จีพีเอส และจีไอเอส เบื้องต้น ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เพื่อแสดงผลแผนที่ และการอ่านค่าพิกัดภูมิศาสตร์ และการจัดทำแผนที่โลก และแผนที่ประเทศไทย เพื่อสอนนักเรียน และการใช้งาน GPS และ Google Earth ซึ่งมีครูภูมิศาสตร์เข้าร่วม 45 คน จาก 30 โรงเรียน และในการฝึกอบรมครั้งนี้มี สื่อการสอน PowerPoint และ CAI และโปรแกรม GIS สำหรับครูที่จะนำไปใช้สอนระบบภูมิสารสนเทศเบื้องต้น และปฏิบัติการทางคอมพิวเตอร์ผลิตแผนที่เพื่องานภูมิศาสตร์ ได้อีกด้วย
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร
"เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อใช้ในการเรียนการสอนวิชาภูมิศาสตร์" ปี 2551
ระยะเวลาในการอบรม
จำนวน 5 วัน
รุ่นที่ 1 วันที่ 21 – 25 กรกฎาคม 2551
งบประมาณสนับสนุนจาก
สสวท.
โดยครูผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่เสียค่าในการฝึกอบรมครั้งนี้
gis2me20080710
สวัสดีครับท่านสมาชิกทุกท่าน
ในช่วงเดือนพ.ค. และมิ.ย. ที่ผ่านมานี้ตารางเต็มไปด้วยงานวิจัยที่รับมาเพื่อเพิ่มศักยภาพของนักวิจัยในทีมงานมากขึ้นทั้งด้าน รีโมทเซนซิงและจีไอเอส และเพิ่งเคลียร์งานฝึกอบรมไปตามหน่วยงานต่างๆ ซึ่งได้แก่ กรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จำนวน 4 คอร์ส (พื้นฐาน 3 – ประยุกต์ 1) และ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี จำนวน 1 คอร์ส และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง จำนวน 1 คอร์ส ทำให้ทีมงานวิจัยภารกิจค่อนข้างเต็ม แต่เป็นการเพิ่มประสบการณ์ ทั้งด้าน Training และ Research ให้กับทีม ก็คุ้มค่ามาก
กำหนดการฝึกอบรมประจำปี 2551 นี้ก็เพิ่งคลอดออกมาได้แล้ว สามารถเข้าดูได้ในรายละเอียด [เว็บลิงค์]
สำหรับ สมาชิกใหม่ แวะเข้าไปชม พื้นฐานการใช้โปรแกรม ArcGIS 9.2 ทาง รศ.สุเพชร ได้จัดทำขึ้น ขณะนี้ ได้ ออน์ไลน์ผ่านเว็บไซต์แล้ว สำหรับสมาชิกลงทะเบียนเข้า Log-in เข้าใช้งานได้ ในหมวดเรียนรู้การใช้โปรแกรม
รศ.สุเพชร จิรขจรกุล
========================================================
51อบรม_โรงพยาบาลระยอง
โครงการ การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์กับการเฝ้าระวังอุบัติภัยและการเฝ้าระวังอุบัติภัยและการควบคุมโรค
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจในระบบ GIS
2. เพื่อให้เจ้าหน้าที่ สามารถพัฒนางานโดยสามารถประยุกต์ใช้ระบบ GIS ในการวางแผนการทำงาน
ผู้เข้ารับการอบรม : ประมาณ 20 คนสถานที่อบรม : โรงพยาบาลระยอง
วันที่ 1 – 2 กรกฎาคม 2551
ศูนย์รักษาพิษสารเคมีอันตรายภาคตะวันออก
ที่อยู่โรงพยาบาลระยอง 138 ต.ท่าประดู่ ถ. สุขุมวิท อ.เมือง จ.ระยอง 21000
ม.ธรรมศาสตร์ได้พัฒนาระบบบริหารจัดการข้อมูลครุภัณฑ์ด้วยระบบ GIS
ระบบบริหารจัดการข้อมูลครุภัณฑ์ด้วยระบบ GIS ภายใต้โครงการพัฒนาระบบข้อมูลครุภัณฑ์ด้วยระบบ GIS มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 30 มิถุนายน 2551 |
โครงการนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำนวตกรรมใหม่มาช่วยสนับสนุนงานการติดตามพัสดุโดยเฉพาะในหมวดครุภัณฑ์ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง เช่น ครุภัณฑ์ประจำอาคาร ให้เป็นไปได้สะดวกคือ การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information Systems : GIS) ในการติดตามที่จัดเก็บ หรือที่ติดตั้งครุภัณฑ์เหล่านี้ โดยบูรณาการระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Database) การวางแผนและการบริหารการใช้พื้นที่ห้องในอาคารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ หรือห้องจัดเก็บครุภัณฑ์ ซึ่งมีความสำคัญและมีผลต่อการพัฒนาทางกายภาพของมหาวิทยาลัยในอนาคต เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พื้นที่เป็นวิธีการหนึ่ง ที่จะช่วยให้การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นไปอย่างคุ้มค่า และได้ประสิทธิภาพเต็มที่ |
หน้าเว็บไซต์ http://gis.tu.ac.th/webcenter/ และคู่มือที่ http://gis.tu.ac.th/tu/user_manual.pdf |
รายละเอียดเกี่ยวกับระบบ
ระบบจัดการครุภัณด้วย GIS Version : 1.2
SOFTWARE
– ArcGIS Server 9.2
– MS SQL2005
รายละเอียดภาพถ่ายทางอากาศ
– ศูนย์ท่าพระจันทร์ : ภาพ Ortho ถ่ายวันที่ 24/08/2006
– ศูนย์ท่ารังสิต : ภาพ Ortho ถ่ายวันที่ 21/08/2006
– ศูนย์ท่าลำปาง : ภาพ Quickbird ถ่ายวันที่ 02/11/2006
– ศูนย์ท่าพัทยา : ภาพ Quickbird ถ่ายวันที่ 28/02/2005
51อบรม_กรมอุทยานฯ คอร์สประยุกต์
ศูนย์วิจัยระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท ได้ร่วมกับ กรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดอบรมคอร์ส GIS ขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรการประยุกต์ GISสำหรับงานด้านป่าไม้ 3 วัน
ครั้งที่4 วันที่ 25 – 27 มิถุนายน 2551
เนื้อหา
การนำเข้าและปรับแก้ข้อมูล Point /การนำเข้าและปรับแก้ข้อมูล Line /การนำเข้าและปรับแก้ข้อมูล Polygon / การทำ Topology / การวิเคราะห์ Buffer Analysis /การวิเคราะห์ Overlay Analysis/ การทำ 3D analysis และแสดงผลบน ArcScene และทำ Fly simulation
การใช้เครื่องมือโปรแกรม ArcGIS ArcInfo 9.2 ระดับ ArcInfo โดยเรียนรู้การนำเข้าแบบประยุกต์ ArcScan / การ digitize และการนำเข้าแบบ Subtype และ Domain และทำ Topology และ Edit ตลอดจน Trick & Tip
การใช้เครื่องมือโปรแกรม ArcGIS ArcInfo 9.2 สำหรับปรับพื้นฐานกลุ่มผู้เข้าอบรม ระยะเวลา 3 วัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์โดยเฉพาะการนำเข้า การแปลง Datum Zone ของไทย
“การสำรวจข้อมูลจากระยะไกลและการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำหรับงานด้านป่าไม้”
ระหว่างวันที่ 26-30 พฤษภาคม 2551(รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 2 – 6 มิถุนายน (รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 9 – 13 มิถุนายน 2551(รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 23 – 27 มิถุนายน 2551(รุ่นประยุกต์)
51อบรม_สสจ.สิงห์บุรี
โครงการ GIS ของจ.สิงห์บุรีเพื่องานสาธารณสุข
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้จนท.สธ.มีความรู้ในการจัดการข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการใช้โปรแกรม MapInfo
2.มีการจัดทำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ด้านอาหารปลอดภัย อนามัยสิ่งแวดล้อม และเฝ้าระวังโรคติดต่อ
เป้าหมาย สถานที่จำหน่ายอาหาร ทุกแห่ง ได้แก่ ร้านอาหาร และตลาดประเภทที่ 1
โรงงานผลิตอาหาร ทุกแห่ง
โรงงานอุตสาหกรรม ทุกแห่ง
ศูนย์เด็กเล็ก ทุกแห่ง
ฟาร์มสัตว์ปีก ทุกแห่ง
ผู้เข้ารับการอบรม จนท.สธ.ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 25 คน
กำหนดวันอบรม วันที่ 19-20 มิ.ย. 51 และ วันที่ 23-24 มิ.ย. 51
51อบรม_กรมอุทยานฯ คอร์สพื้นฐาน
ศูนย์วิจัยระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ภาควิชาเทคโนโลยีชนบท ได้ร่วมกับ กรมอุทยาน สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้จัดอบรมคอร์ส GIS ขั้นพื้นฐาน
หลักสูตรพื้นฐาน GISสำหรับงานด้านป่าไม้ 3 วัน
ครั้งที่1 วันที่ 28 – 30 พฤษภาคม 2551
ครั้งที่2 วันที่ 4 – 6 มิถุนายน 2551
ครั้งที่3 วันที่ 11 – 13 มิถุนายน 2551
เนื้อหา
พื้นฐาน GIS / พื้นฐานโปรแกรม ArcGIS/ แสดงผลข้อมูล / ข้อมูลเชิงพื้นที่ /การนำเข้าและปรับแก้ข้อมูล / ข้อมูลเชิงบรรยาย / การสืบค้นข้อมูล /การสร้างแผนที่ layout
การใช้เครื่องมือโปรแกรม ArcGIS ArcInfo 9.2 สำหรับปรับพื้นฐานกลุ่มผู้เข้าอบรม ระยะเวลา 3 วัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์โดยเฉพาะการนำเข้า การแปลง Datum Zone ของไทย
“การสำรวจข้อมูลจากระยะไกลและการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำหรับงานด้านป่าไม้”
ระหว่างวันที่ 26-30 พฤษภาคม 2551(รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 2 – 6 มิถุนายน (รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 9 – 13 มิถุนายน 2551(รุ่นพื้นฐาน)
ระหว่างวันที่ 23 – 27 มิถุนายน 2551(รุ่นประยุกต์)
ตำรา ArcGIS 9.2 ขายที่ ศูนย์หนังสือธรรมศาสตร์ทุกสาขา
หนังสือ "เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 9.2"
ด้วยความหนาถึง 616 หน้า ราคาปก 300 บาท
ISBN 978-974-05-9283-9
วางตลาดแล้ว สำหรับสถานที่ซื้อที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ และ ศูนย์หนังสือธรรมศาสตร์ฯ
ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สามารถติดต่อสั่งซื้อสินค้า โดยติดต่อที่
ศูนย์หนังสือสาขาท่าพระจันทร์ โทรศัพท์ 02-6133890, 02-2210633, 06-3019345และที่
ศูนย์หนังสือสาขาศูนย์รังสิต โทรศัพท์ 02-5644438, 02-9869039, 02-5642725
E-mail : sale@tubookstore.com
วิธีการสั่งซื้อตำรา :
http://bookstore.tu.ac.th/activity/order.htm
สำหรับท่านที่สนใจใช้ประกอบการเรียนรู้ หรือจัดฝึกอบรม สามารถสั่งซื้อได้
ติดต่อ
webmaster@gis2me.com
ตำรา ArcGIS 9.2 ขายที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ทุกสาขา
หนังสือ "เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 9.2"
ด้วยความหนาถึง 616 หน้า ราคาปก 300 บาท
ISBN 978-974-05-9283-9
วางตลาดแล้ว สำหรับสถานที่ซื้อที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ
หาซื้อได้ที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ทุกสาขา ได้แก่
สยามสแควร์
อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น G โทร. 0-2218-9881 แฟกซ์ 0-2254-9600
อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น 14 โทร. 0-2218-7010-15 แฟกซ์ 0-2255-4441, 0-2254-9495
ศาลาพระเกี้ยว โทร. 0-2218-7001-3, 0-2218-7017 แฟกซ์ 0-2251-7021
สาขา ม.นเรศวร โทร. 0-5526-0162-65 แฟกซ์ 0-5526-0165
สาขา ม.บูรพา โทร. 0-3839-4855-9 แฟกซ์ 0-3839-3239
สาขา มทส. โทร. 0-4421-6131-4 แฟกซ์ 0-4421-6135
email : customer@cubook.chula.ac.th
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Call Center 0-2255-4433
สำหรับที่ ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หาซื้อได้ทุกสาขาของศูนย์หนังสือ Chulabook [Links]
วิธีการสั่งซื้อ [help]
หนังสือ "เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 9.2"
หนังสือ "เรียนรู้ระบบภูมิสารสนเทศด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 9.2"
ด้วยความหนาถึง 616 หน้า ราคาปก 300 บาท
ISBN 978-974-05-9283-9
วางตลาดแล้ว สำหรับสถานที่ซื้อที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ และ ศูนย์หนังสือธรรมศาสตร์ฯ
หาซื้อได้ที่ ศูนย์หนังสือจุฬาฯ ทุกสาขา ได้แก่
สยามสแควร์
อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น G โทร. 0-2218-9881 แฟกซ์ 0-2254-9600
อาคารวิทยกิตติ์ ชั้น 14 โทร. 0-2218-7010-15 แฟกซ์ 0-2255-4441, 0-2254-9495
ศาลาพระเกี้ยว โทร. 0-2218-7001-3, 0-2218-7017 แฟกซ์ 0-2251-7021
สาขา ม.นเรศวร โทร. 0-5526-0162-65 แฟกซ์ 0-5526-0165
สาขา ม.บูรพา โทร. 0-3839-4855-9 แฟกซ์ 0-3839-3239
สาขา มทส. โทร. 0-4421-6131-4 แฟกซ์ 0-4421-6135
email : customer@cubook.chula.ac.th
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ Call Center 0-2255-4433
สำหรับที่ ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หาซื้อได้ทุกสาขาของศูนย์หนังสือ Chulabook [Links]
วิธีการสั่งซื้อ [help]
ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สามารถติดต่อสั่งซื้อสินค้า โดยติดต่อที่
ศูนย์หนังสือสาขาท่าพระจันทร์ โทรศัพท์ 02-6133890, 02-2210633, 06-3019345และที่
ศูนย์หนังสือสาขาศูนย์รังสิต โทรศัพท์ 02-5644438, 02-9869039, 02-5642725
E-mail : sale@tubookstore.com
วิธีการสั่งซื้อตำรา :
http://bookstore.tu.ac.th/activity/order.htm
สำหรับท่านที่สนใจใช้ประกอบการเรียนรู้ หรือจัดฝึกอบรม สามารถสั่งซื้อได้
ติดต่อ
webmaster@gis2me.com
เรียนรู้พื้นฐานการใช้โปรแกรม ArcGIS 9.2
เรียนรู้พื้นฐานการใช้โปรแกรม ArcGIS 9.2 ครอบคลุมเวอร์ชั่น 9.1 ด้วย CAI
สมาชิกจีไอเอสทูมี สามารถคลิกดู สื่อการสอน CAI (ไม่มีเสียง แต่มีเมนูบอกรายละเอียดการทำงาน อย่างชัดเจน)
ท่านสามารถใช้ศึกษาด้วยตนเองได้
เป็นการปูพื้นฐาน การใช้งานโปรแกรม ArcGIS ในระดับ ArcView ครอบคลุมทั้ง 9.1 และ 9.2
ศึกษาพื้นฐานการใช้งาน และลองหาความรู้เพิ่มเติมในการนำไปประยุกต์ใช้ในงานขององค์กรท่าน เพราะการศึกษาจาก CAI เป็นเพียงแค่เครื่องมือ แต่ในแนวคิดในการทำงานต้องศึกษากันต่อไป เพราะ GIS สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลาย
เรียนรู้การใช้โปรแกรม ArcCatalog เรียนรู้การใช้ ArcMap : Vector Data เรียนรู้การกำหนด Georeferencing Map เรียนรู้การ Digitizing Map เรียนรู้การทำ HyperLink Map เรียนรู้การแปลง Datum / Zone |
เรียนรู้การใช้โปรแกรม ArcCatalog ในส่วนนี้จะพูดถึงการใช้งานโมดูล ArcCatalog เพื่อควบคุม ฐานข้อมูล GIS อย่างมีประสิทธิภาพ เหมือนการใช้โปรแกรม Windows Explorer นั่นเอง แต่ต่างกันตรงที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูล GIS ได้ดีกว่า Window Explorer
เรียนรู้การใช้ ArcMap : Vector Data ในส่วนนี้จะใช้งานโปรแกรม ArcMap เพื่อแสดงผลแผนที่ GIS ฐานข้อมูล GIS ประเภทเวกเตอร์ และการตกแต่งสัญลักษณ์ เพื่อให้สวยงามได้อย่างไร ก็ลองเข้าไปศึกษาเพิ่มเติมได้ในบทนี้
เรียนรู้การกำหนด Georeferencing Map
ในส่วนนี้จะใช้งานโปรแกรม ArcMap เพื่อแสดงผลแผนที่แรสเตอร์ หรือภาพที่ scan เข้ามา แล้วทำการตรึงพิกัดภูมิศาสตร์ เพื่อใช้ประกอบการแสดงผลแผนที่ หรือเป็นแผนที่ฐานที่จะนำเข้าข้อมูลเพิ่มเติมได้ในภายหลัง
เรียนรู้การ Digitizing Mapใช้ส่วนโปรแกรม ArcMap ในการนำเข้าข้อมูลแบบพื้นฐาน เช่น จุดที่ตั้งชุมชน เส้นถนน และพื้นที่การใช้ที่ดิน เป็นต้น อย่างง่ายๆ เบื้องต้น ในส่วนนี้ยังไม่ถึงการทำ Advanced Editing เพราะต้องการให้ผู้ใช้ศึกษาเบื้องต้นก่อน จะได้เข้าใจการนำเข้าข้อมูลเบื้องต้น ซึ่งจัดเป็นการนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Data)
เรียนรู้การทำ Attribute Table ใช้ส่วนของโปรแกรม ArcMap นำเข้าข้อมูลเชิงตาราง หรือข้อมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) เพื่อนำเข้าข้อมูลตาราง ในที่นี้เป็นการคำนวณค่าพิกัดจุดที่ตั้งชุมชนที่ได้นำเข้าไป ความยาวเส้นถนนที่ได้นำเข้า และขนาดของพื้นที่ เป็นตารางเมตร เป็นต้น
เรียนรู้การทำ HyperLink Map ใช้ส่วนของโปรแกรม ArcMap เชื่อมโยงไปยังภาพ หรือ Video ที่ต้องการแสดงผล เพื่อประกอบการนำเสนอผลงาน เหมาะสำหรับการนำเสนอ ให้กับผู้บริหาร
เรียนรู้การแปลง Datum / Zone เป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่ง ในการปรับแก้ไขฐานข้อมูลให้อยู่ในระบบพิกัดเดียวกัน ที่เรียกว่า Datum แปลตามราชบัณฑิตได้ว่า "มูลฐาน" หรือ "ระดับอ้างอิง" อันไหนแปลได้เข้าใจก็เลือกใช้ให้เหมาะสมก็แล้วกันครับ ไม่ต้องแปลไทยเป็นไทยอีก เดียวผู้ใช้จะ "งง" และการแปลงโซน ซึ่งประเทศไทยมีบางส่วนตกอยู่ในพื้นที่ โซน 47 และบางส่วนตกในโซน 48 ไว้อธิบายให้อ่านอย่างละเอียดอีกครั้งครับ