คู่มือเรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 10.5 ฉบับภาษาไทย วางตลาดแล้ว
“เรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 10.5“ .
ครอบคลุมทั้ง 10.0 ถึง 10.5 และเนื้อหาที่เพิ่มขึ้นมาในบางส่วน
เหมาะสำหรับนิสิต นักศึกษา ที่เรียนวิชาด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทั้งในระดับต้น และระดับกลาง
|
ผู้แต่ง : รองศาสตราจารย์ ดร.สุเพชร จิรขจรกุล ISBN 978-616-440-170-9ปีพิมพ์ : 1 / 2560 ขนาด (w x h) : 18.415 cm x 26.035 cm หนา : 4.25 cm. ปก/จำนวนหน้า : ปกอ่อน / 968 หน้า |
ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
**ติดต่อสอบถามข้อมูลสั่งซื้อหนังสือ E-mail: tubks@tu.ac.th |
ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
ศูนย์หนังสือจุฬาฯ สาขาสยาม (update!)
|
ร้านหนังสือโอเดียนสโตร์
|
สั่งซื้อผ่าน lnwshop เพื่อจัดส่งทางไปรษณีย์ ราคาเล่มละ 420 บาท**ติดต่อสอบถามข้อมูลสั่งซื้อหนังสือทาง lnwshop Website http://thaiarcgis.lnwshop.com/ |
หากสั่งซื้อจำนวนมากเพื่อจัดฝึกอบรม (ราคาพิเศษ)
|
ซื้อด้วยตนเอง เล่มละ 390 บาท ที่สาขาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน อาคารบร. 5 ชั้น 3 ห้อง M301 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ติดต่อสอบถาม เจ้าหน้าที่ ประสานงาน 089-446-1900 |
เนื้อหาในเล่ม “เรียนรู้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยโปรแกรม ArcGIS Desktop 10.5“
ภาคทฤษฎี :
ความรู้เบื้องต้นเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (Geo-Informatics) ความหมายและองค์ประกอบ GIS ลักษณะข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลคุณลักษณะ การจัดการข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์โครงข่าย เส้นทางขนส่งด้วย Network Analysis การพยากรณ์ค่าสารเคมีหรือปริมาณน้ำฝนด้วย Interpolation
แบบจำลองความสูงเชิงเลขหรือ DIGITAL ELEVATION MODEL พื้นฐานความรู้การวิเคราะห์ลุ่มน้ำ
และทิศทางการไหลของน้ำในลุ่มน้ำ และการแสดงผลลัพธ์ ซึ่งเหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นเรียนรู้
และผู้ใช้โปรแกรมระดับกลาง เพื่อศึกษาในส่วนของพื้นฐานทั่วไปทางทฤษฎี
เนื้อหาภาคปฎิบัติการ : ด้วย ArcGIS Desktop 10.5ประกอบด้วย
- การจัดการและแสดงข้อมูลใน ArcMap
- การใส่สัญลักษณ์และตกแต่งตัวอักษรในแผนที่
- การสอบถามข้อมูลจากข้อมูลตาราง
- การกำหนดตำแหน่งพิกัดภูมิศาสตร์แผนที่แล้วนำไปเป็นแผนที่ฐานในการนำเข้าข้อมูลด้วยเทคนิคพิเศษต่างๆ ที่สะดวกมากขึ้น
- การจัดการย้ายพิกัดข้อมูลเวกเตอร์ด้วย Spatial Adjustment และ
- การตรวจสอบ Topology ของแผนที่ที่สร้างขึ้น
- ศึกษาการแปลง Datumระหว่าง Indian 1975 และ WGS 1984
- การกำหนดตัวเลขแทนข้อความที่จะแสดงเป็นป้ายข้อมูล (Key Numbering)
- การตัดภาพด้วยคำสั่ง Split Raster
- การแปลงข้อมูลจุดให้เป็นข้อมูลประเภทเส้น (Point To Line)
- การแปลงข้อมูลเส้นให้เป็นข้อมูลประเภทรูปปิด (Feature To Polygon)
- การแปลงข้อมูลรูปปิดให้เป็นข้อมูลประเภทเส้น (Polygon To Line)
- การแปลงข้อมูลเส้นหรือรูปปิดให้เป็นข้อมูลประเภทจุด (Feature Vertices To Points)
- การสร้างข้อมูลจุดพร้อมทั้งเชื่อมโยงกับรูปถ่ายด้วยคำสั่ง GeoTagged
- การคำนวณค่าฟิลด์ด้วยคำสั่ง Add Geometry Attribute
- การแก้ไขชื่อฟิลด์และคุณสมบัติฟิลด์ด้วยคำสั่ง Alter Field
- การบันทึกค่าพารามิเตอร์สำหรับการแปลง Datum (Create Custom Geographic Transformation)
- การตัดข้อมูลแยกตามขอบเขตที่กำหนดด้วยคำสั่ง Split
- การตัดชั้นข้อมูลหรือตารางแยกตามฟิลด์ด้วยคำสั่ง Split By Attribute
- การสร้างชั้นข้อมูลใหม่จากเงื่อนไขที่เลือก (Select)
- การขจัดข้อมูลด้วยคำสั่ง Eliminate
- การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคำสั่ง Identity
- การปรับปรุงข้อมูลด้วยคำสั่ง Update
- การวิเคราะห์พื้นที่เปลี่ยนแปลงด้วยคำสั่ง Symmetrical Difference
- การสร้างระยะห่างหรือแนวกันชนด้วยคำสั่ง Graphic Buffer
- การสร้างรูปปิดทิสเซน (Create Thiessen Polygons)
- การสร้างจุดแบบสุ่มตำแหน่งอัตโนมัติ (Create Random Points)
- การวิเคราะห์ระยะขจัดจากจุดที่ต้องการไปยังทุกๆ จุดด้วยคำสั่ง Point Distance
- การหาระยะทางขจัดระหว่างจุดที่ใกล้ที่สุดด้วยคำสั่ง Near
- การแปลงชั้นข้อมูลเป็นไฟล์ KML ด้วยคำสั่ง Layer to KML
- การแปลงเอกสารแผนที่เป็นไฟล์ KML ด้วยคำสั่ง Map to KML
- วิธีแก้ปัญหากรณีไม่สามารถอ่านภาษาไทยได้ในไฟล์ dbase (.dbf) หรือในตาราง Attribute
- เรียนรู้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย Overlay function
- เรียนรู้การสร้าง Model Builder และ
- การจัดทำแผนที่ Layout
- การพยากรณ์ในช่วง (Interpolation)
- การสร้างแบบจำลองความสูงเชิงเลข (DEM)
- การประยุกต์ในแบบจำลองอุทกศาสตร์ (Hydrology)
- การจำลองข้อมูลในรูปแบบ 3 มิติ (3D Analyst) การจำลองสามมิติ และ
- การวิเคราะห์ข้อมูลโครงข่าย (Network Analyst) รวมถึง VRP และ Location/Allocation
- การจัดหาตำแหน่งที่เหมาะสมด้วย Minimize Impedance
เหมาะสำหรับผู้สนใจที่เรียนรู้ ครอบคลุม ArcGIS ตั้งแต่ 10.0 ถึง 10.5 เป็นแบบฝึกหัดได้ทดลองทำปฏิบัติการตามขั้นตอนที่ได้เขียนไว้ในหนังสือเล่มนี้
นิสิต นักศึกษาที่เรียนวิชา GIS ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ควรมีไว้ในครอบครอง
เพราะอาจจะช่วยงานคุณได้ยามฉุกเฉิน ที่ต้องการคำตอบในบางประเด็น
สั่งหนังสือ
สนใจสั่งซื้อครับ